It's my fault กับ It's my mistake
mistake (n) = an error or fault resulting from defective judgment, deficient knowledge, or carelessness.
fault n.
Fault, 1. Blemish, defect, deficiency, failing, flaw, imperfection,inaccuracy, indiscretion, negligence, omission, shortcoming, weakness. 2. Blunder, error, lapse, misdeed, mistake, offence, sin, slip, slip-up, wrong. 3. accountability, culpability, liability, responsibility.
Imperfection and fault apply more comprehensively to any deficiency or shortcoming: “A true critic ought to dwell rather upon excellencies than imperfections” . “Each of us would point out to the other her most serious faults, and thereby help her to remedy them”
Use fault to mean something that is wrong with a machine or system, or something that you could criticize about a person or thing • The car engine had developed a fault. • The book's only fault is that it is too long.
Use mistake to mean something that is wrong in someone's grammar, spelling, calculations, decisions etc • Please correct any mistakes (NOT faults) in my letter
-------------------------------------------------------------------
apology กับ apologize
Apology เป็นคำนามซึ่งแปลว่าคำขอโทษนั่นเอง คำว่า apologize มันเป็นคำกริยาซึ่งแปลว่าขอโทษนั่นเอง ตัวอย่างเช่น "Do you accept my apology ?(คุณจะรับคำขอโทษของผมได้ไหม )
I apologize for lying to you (ผมขอโทษที่โกหกคุณนะ )
-------------------------------------------------------------------
Baht ไม่เติม s
Baht ไม่มีการเติม s นะคะถือว่าเป็นเอกพจน์เสมอ
ซึ่งโดยมากสกุลเงินทางเอเชียจะไม่เติม s
แตกต่างจากทางฝั่งตะวันตก
เช่น dollar, pound, euro จะถือเป็นพหูพจน์และมีการเติม s ค่ะ
mistake (n) = an error or fault resulting from defective judgment, deficient knowledge, or carelessness.
fault n.
- A character weakness, especially a minor one.
- Something that impairs or detracts from physical perfection; a defect. See synonyms at blemish.
- A mistake; an error.
- A minor offense or misdeed.
- Responsibility for a mistake or an offense; culpability. See synonyms at blame..
Fault, 1. Blemish, defect, deficiency, failing, flaw, imperfection,inaccuracy, indiscretion, negligence, omission, shortcoming, weakness. 2. Blunder, error, lapse, misdeed, mistake, offence, sin, slip, slip-up, wrong. 3. accountability, culpability, liability, responsibility.
Imperfection and fault apply more comprehensively to any deficiency or shortcoming: “A true critic ought to dwell rather upon excellencies than imperfections” . “Each of us would point out to the other her most serious faults, and thereby help her to remedy them”
Use fault to mean something that is wrong with a machine or system, or something that you could criticize about a person or thing • The car engine had developed a fault. • The book's only fault is that it is too long.
Use mistake to mean something that is wrong in someone's grammar, spelling, calculations, decisions etc • Please correct any mistakes (NOT faults) in my letter
-------------------------------------------------------------------
apology กับ apologize
Apology เป็นคำนามซึ่งแปลว่าคำขอโทษนั่นเอง คำว่า apologize มันเป็นคำกริยาซึ่งแปลว่าขอโทษนั่นเอง ตัวอย่างเช่น "Do you accept my apology ?(คุณจะรับคำขอโทษของผมได้ไหม )
I apologize for lying to you (ผมขอโทษที่โกหกคุณนะ )
-------------------------------------------------------------------
Baht ไม่เติม s
Baht ไม่มีการเติม s นะคะถือว่าเป็นเอกพจน์เสมอ
ซึ่งโดยมากสกุลเงินทางเอเชียจะไม่เติม s
แตกต่างจากทางฝั่งตะวันตก
เช่น dollar, pound, euro จะถือเป็นพหูพจน์และมีการเติม s ค่ะ
ขอบคุณข้อมูลจาก ผู้รู้ค่ะ
---------------------------------------------------------------
angry=โมโห mad= โกรธนะครับ
ฉันโกรธคุณ = I am mad at you.
คุณโกรธฉันไหม = Are you mad at me?
คุณโกรธฉันไหม = Are you mad at me?
----------------------------------------------------------------
Work กับ Job ครับผม อีโมติคอน kiki
Work โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึง งานที่ต้องออกแรง หรือ ใช้ความพยายาม ซึ่งคำตรงข้ามของ Work ในความหมายนี้ คือ Play ที่แปลว่า เล่น
Work มักใช้กับคำว่า "งาน" ในความหมายที่ว่า เป็นงานที่ทำเพื่อเลี้ยงชีพ หรือ งานที่ได้เงิน
ตัวอย่างเช่น David works in a café. (เดวิดทำงานในคาเฟ่)
จากประโยคข้างต้น Work แสดงความหมายถึง การทำงานแบบทั่วๆไป โดยไม่ได้มีรายละเอียดเฉพาะเจาะจง ว่า งานในคาเฟ่นั้น เขาทำหน้าที่อะไร
ส่วน Job ในความหมายของการทำงาน จะมีความหมายที่เฉพาะเจาะจงมากกว่าคำว่า Work โดย Job จะบอกหน้าที่/ชื่องาน/ชื่อตำแหน่งเลย เช่น David has now got a new job. He is a cook in a small restaurant. (เดวิดได้งานใหม่แล้ว เขาทำงานเป็นพ่อครัวในร้านอาหาร)Work มักใช้กับคำว่า "งาน" ในความหมายที่ว่า เป็นงานที่ทำเพื่อเลี้ยงชีพ หรือ งานที่ได้เงิน
ตัวอย่างเช่น David works in a café. (เดวิดทำงานในคาเฟ่)
จากประโยคข้างต้น Work แสดงความหมายถึง การทำงานแบบทั่วๆไป โดยไม่ได้มีรายละเอียดเฉพาะเจาะจง ว่า งานในคาเฟ่นั้น เขาทำหน้าที่อะไร
ความหมายจะมีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น
จุดที่น่าสนใจคือ Job จะต้องเกี่ยวกับ Work เสมอ ในขณะที่ Work ไม่จำเป็นต้องเกียวกับ Job ก้ได้
ตัวอย่างเช่น David can spend the weekend working in his garden, perhaps cutting the grass or planting new flowers.
(เดวิดสามารถใช้เวลาว่างในวันสุดสัปดาห์เพื่อทำงานในสวนของเขา บ้างก็ตัดหญ้า บ้างก็ปลูกดอกไม้)
นี่คือตัวอย่างหนึ่งของคำว่า Work ที่หมายถึง การทำงานอดิเรก ไม่ใช่การทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ หรือ หารายได้ การทำสวนในประโยคนี้ไม่ได้มีความหมายเป็น Job แต่อย่างใด ครับผม
ตัวอย่างเช่น David can spend the weekend working in his garden, perhaps cutting the grass or planting new flowers.
(เดวิดสามารถใช้เวลาว่างในวันสุดสัปดาห์เพื่อทำงานในสวนของเขา บ้างก็ตัดหญ้า บ้างก็ปลูกดอกไม้)
นี่คือตัวอย่างหนึ่งของคำว่า Work ที่หมายถึง การทำงานอดิเรก ไม่ใช่การทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ หรือ หารายได้ การทำสวนในประโยคนี้ไม่ได้มีความหมายเป็น Job แต่อย่างใด ครับผม
----------------------------------------------------------------
รู้มั้ยว่าการใช้ Some of people ผิดแกรมม่า?
ประโยคที่ถูกต้อง คือ
- Some people (คนบางคน ทั่วๆไป)
- Some of the people (คนบางคน ที่ระบุเจาะจง)
เลือกใช้อย่างใดอย่างหนึ่งนะครับ แต่อย่างไปใช้ Some of people นะครับ มันผิด รวมถึง Some of friends, some of girls อะไรประมาณนี้ด้วย ถ้าจะให้ save สุดๆ เวลาเขียน เติม the หรือ pronoun ไปด้วยทุกครั้งถ้าจะใช้ of นะครับ เช่น some of my friends.. , some of the girls
ตัวอย่างประโยคเติมๆ
Some of my friends are very friendly.
ประโยคที่ถูกต้อง คือ
- Some people (คนบางคน ทั่วๆไป)
- Some of the people (คนบางคน ที่ระบุเจาะจง)
เลือกใช้อย่างใดอย่างหนึ่งนะครับ แต่อย่างไปใช้ Some of people นะครับ มันผิด รวมถึง Some of friends, some of girls อะไรประมาณนี้ด้วย ถ้าจะให้ save สุดๆ เวลาเขียน เติม the หรือ pronoun ไปด้วยทุกครั้งถ้าจะใช้ of นะครับ เช่น some of my friends.. , some of the girls
ตัวอย่างประโยคเติมๆ
Some of my friends are very friendly.
----------------------------------------------------------------
การใช้เครื่องหมายวรรคตอน Comma ( , ) จ้า
1.ใช้คั่นเพื่อแยกคำนามซ้อน
Thailand, a country in Asia, is famous for its beautiful temples.
1.ใช้คั่นเพื่อแยกคำนามซ้อน
Thailand, a country in Asia, is famous for its beautiful temples.
2.ใช้แยกระหว่างคำที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเช่น
I want a car, a motorcycle, and a bicycle.
I want a car, a motorcycle, and a bicycle.
3.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่บอกสี
a blue, yellow bicycle
a blue, yellow bicycle
4.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่ตามหลังคำนาม
The modal is dark, tall and handsome.
The modal is dark, tall and handsome.
5.คั่นข้างหน้าหรือข้างหลังชื่อ เช่น
Christina, where have you been?
What would you like to eat, Pranee?
Christina, where have you been?
What would you like to eat, Pranee?
6.คั่นประโยคที่ตามหลัง Yes, No และ Well ที่ขึ้นต้นประโยค
Are you Thai? Yes, I am.
Well, I’m not sure if I can do that.
Are you Thai? Yes, I am.
Well, I’m not sure if I can do that.
7.ใช้เพื่อแยกข้อความในประโยคคำพูดเช่น
He said, “They are happy.”
He said, “They are happy.”
8.คั่นระหว่างปีที่ตามหลังเดือน, ถนนกับเมือง,เมืองกับประเทศเช่น
Today is May 4th, 2000.
Dang lives at 56 Sukumvit Road, Bangkok.
Today is May 4th, 2000.
Dang lives at 56 Sukumvit Road, Bangkok.
----------------------------------------------------------------
การใช้เครื่องหมาย Period ( . ) ครับผม
1.ใช้เมื่อจบประโยคในประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำสั่ง
I saw the boy.
Let’s go to the shop.
Give me the pen please.
I saw the boy.
Let’s go to the shop.
Give me the pen please.
2.ใช้หลังอักษรย่อต่างๆหรือคำย่อ
Dr.=Doctor, adv.=adverb U.S.A.=United States of America
Dr.=Doctor, adv.=adverb U.S.A.=United States of America
----------------------------------------------------------------
แฟนเพจท่านหนึ่งถามผมว่า กำลังจะตากผ้า ภาษาอังกฤษเขาพูดว่ายังไง
ตอบนะครับ ตากผ้า = dry the clothes in the sun โดยคำว่า dry ในที่นี้เป็นกริยานะครับ สามารถผัน tense ได้ครับ
I wash and dry the clothes in the sun on Saturdays.
ฉันซักและตากผ้าทุกวันเสาร์
ฉันซักและตากผ้าทุกวันเสาร์
I am drying the clothes in the sun.
ฉันกำลังตากผ้า
ฉันกำลังตากผ้า
I dried the clothes in the sun last Sunday.
ฉันตากผ้าเมื่อวันอาทิตย์ที่แล้ว
ฉันตากผ้าเมื่อวันอาทิตย์ที่แล้ว
----------------------------------------------------------------
สำนวนเกี่ยวกับฝน (Idiom of Rain) อีโมติคอน kiki
Rain cats and dogs
เวลาที่ในตกหนักๆ เขาจะใช้สำนวนนี้แหละครับ อย่างเช่น Yesterday, It’s raining cats and dogs in Udonthani. I was unable to go home. (เมื่อวานนี้อุดรธานีฝนตกหนักมาก ฉันไม่สามารถกลับบ้านได้)
เวลาที่ในตกหนักๆ เขาจะใช้สำนวนนี้แหละครับ อย่างเช่น Yesterday, It’s raining cats and dogs in Udonthani. I was unable to go home. (เมื่อวานนี้อุดรธานีฝนตกหนักมาก ฉันไม่สามารถกลับบ้านได้)
----------------------------------------------------------------
5 เทคนิคออกเสียงภาษาอังกฤษให้เป๊ะสุดๆ อีโมติคอน kiki
1. คำที่ลงท้ายด้วย -tion
ออกเสียงถูก เฉิ่น
ออกเสียงผิด ชั่น
ยกตัวอย่างเช่น nation มองปุ๊บสัญชาตญาณบอกให้เราอ่านว่า “เนชั่น” ทันที แต่ถ้าจะออกเสียงให้เหมือนคุณฝรั่งทั้งหลาย…ก็ให้อ่านว่า “เนเฉิ่น”
ออกเสียงถูก เฉิ่น
ออกเสียงผิด ชั่น
ยกตัวอย่างเช่น nation มองปุ๊บสัญชาตญาณบอกให้เราอ่านว่า “เนชั่น” ทันที แต่ถ้าจะออกเสียงให้เหมือนคุณฝรั่งทั้งหลาย…ก็ให้อ่านว่า “เนเฉิ่น”
2. คำที่ลงท้ายด้วย -ing
ออกเสียงถูก อิ่ง
ออกเสียงผิด อิ้ง
อย่างคำว่า working จริงๆแล้วต้องอ่านว่า “เวิร์คคิ่ง” ไม่ใช่ “เวิร์คกิ้ง”
ออกเสียงถูก อิ่ง
ออกเสียงผิด อิ้ง
อย่างคำว่า working จริงๆแล้วต้องอ่านว่า “เวิร์คคิ่ง” ไม่ใช่ “เวิร์คกิ้ง”
3. คำที่ลงท้ายด้วย -ment
ออกเสียงถูก เหม่นท์
ออกเสียงผิด เม้นท์
คำยอดนิยมอย่าง comment มีแต่คนอ่านว่า คอมเม้นๆๆ ทั้งนั้น กับคนไทยโอเค เข้าใจกัน แต่ถ้าอยากออกเสียงแบบสำเนียงฝรั่งก็ให้อ่านว่า “คอม-เหม่นท์” นะครับ
ออกเสียงถูก เหม่นท์
ออกเสียงผิด เม้นท์
คำยอดนิยมอย่าง comment มีแต่คนอ่านว่า คอมเม้นๆๆ ทั้งนั้น กับคนไทยโอเค เข้าใจกัน แต่ถ้าอยากออกเสียงแบบสำเนียงฝรั่งก็ให้อ่านว่า “คอม-เหม่นท์” นะครับ
4. คำที่ลงท้ายด้วย -er/-or
ออกเสียงถูก เอ่อ
ออกเสียงผิด เอ้อ, อ้อ
เช่นคำว่า teacher เราพูดกันอย่างติดปากว่า “ทีชเช่อ” แต่จริงๆแล้วต้องอ่านว่า “ทีชเฉ่อะ”
ออกเสียงถูก เอ่อ
ออกเสียงผิด เอ้อ, อ้อ
เช่นคำว่า teacher เราพูดกันอย่างติดปากว่า “ทีชเช่อ” แต่จริงๆแล้วต้องอ่านว่า “ทีชเฉ่อะ”
5. คำที่ลงท้ายด้วย -ty -ly -ry
ออกเสียงถูก ถี่ หลี่ หรี่
ออกเสียงผิด ตี้ ลี่ รี่
อย่าออกเสียงว่า ตี้ ลี่ รี่ ให้ออกเสียงว่า ถี่ หลี่ หรี่ เช่น city ให้ออกเสียงว่า ซิถี่ นอกจากนั้นคำที่ลงท้ายด้วย y อย่าง moneyก็ให้ออกเสียงพยางค์สุดท้ายสั้นๆเป็น มัน-นิ่ ก็พอครับ
ออกเสียงถูก ถี่ หลี่ หรี่
ออกเสียงผิด ตี้ ลี่ รี่
อย่าออกเสียงว่า ตี้ ลี่ รี่ ให้ออกเสียงว่า ถี่ หลี่ หรี่ เช่น city ให้ออกเสียงว่า ซิถี่ นอกจากนั้นคำที่ลงท้ายด้วย y อย่าง moneyก็ให้ออกเสียงพยางค์สุดท้ายสั้นๆเป็น มัน-นิ่ ก็พอครับ
ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.dailyenglish.in.th ครับผม
---------------------------------------------------------------
Go Dutch มีที่มาอย่างไร?
บ้านเรามักใช้อเมริกันแชร์ ในการช่วยกันชำระเงิน
แต่ฝรั่งใช้ go Dutch อยากทราบมีที่มาอย่างไร
แต่ฝรั่งใช้ go Dutch อยากทราบมีที่มาอย่างไร
คำตอบที่ดีที่สุด: ผมละขำกับคนที่ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเมืองไทยและเมืองนอก
ออกมาตีความว่า..คนไทยชอบเลียนแบบฝรั่ง..หรือชาติอื่นๆ
ผมเห็นหลายอย่าง ที่คนไทยเอาของเขามาแล้วก็แปลงรูปแปลงร่างเสียใหม่ จนฝรั่งหรือเจ้าของเก่า(เรื่องอาหาร)เขาจำไม่ไ่ด้
เช่นสุกี้ยากี้ แกงกะหรี่ หมูสะเต๊ะ
ส่วนในด้านภาษาก็คือ "น้องๆ เช็คบิลหน่อย" แทนที่จะบอกว่า.."เก็บตังค์ด้วยครับ.."
ใช้ทั้ง "เช็ค" และ "บิล" ..ฝรั่งก็งง น่ะสิครับ
เข้าเรื่องดีกว่า
คำว่า"โก ดัช" ที่กลายร่างเป็น "อเมริกันแชร์" ในภาษาไทย น่าจะเกิดมาก่อนสัตหีบมีฐานทัพ บี 52 ประมาณ 10 ปี
เพราะยุคนั้น..อเมริกันเริ่มทะลักเข้ามาเต็มจวนผู้ว่า จังหวัด จันทบุรีแล้ว
------------------------------------------------------------
Going Dutch ผมลอกขี้ปากของเฮีย แอนดรูว์ บิกกส์ มาดีกว่า..
Go Dutch เป็นศัพท์อังกฤษที่ตรงความหมายของ อเมริกันแชร์ ซึ่งเป็นศัพท์ไทย
โอ้อย่าคิดว่าผมพิมพ์ผิดเมื่อกี๊ครับ ผมพิมพ์ถูกแล้ว
คือ อเมริกันแชร์ เป็นศัพท์ที่คนไทยใช้โดยเฉพาะ
ฝรั่งเราไม่ใช้ แล้วคุณได้ศัพท์นี้มาจากไหนเนี่ย
http://www.andrewbiggs.com/columns/column-192.htm
เฮียแอนดรู บิกกส์ยังมีตัวอย่างวิธีใช้ศัพท์นี้ให้ด้วย
Bakkhoi is so stingy . The bill came to only 25 Baht but he said : " Let's go Dutch ." ( บักข่อย นี่ขี้เหนียวเหลือเกิน ค่าอาหารเพียง 15 บาทแต่เขาเสนอว่า จ่ายคนละครึ่ง )
แต่เฮียอังดรูว์ ตกคำนวณ..หรือตก อ่านเอาเรื่อง..แล้วแต่เพื่อนจะพิจารณา ฮ่าๆๆๆๆ
---------------------------------------------------------------------------------------
ที่มา
ว่ากัันว่า..ศัพท์นี้บัญญัติขึ้นมาโดยชาวอังกฤษสมัยสงคราม Anglo-Dutch Wars ในศตวรรตที่ 17 และ 18 เพราะต้องการ เหยียบย่ำ คู่ต่อสู้
หลังสงครามอาวุธ ยังมีสงครามการล่าอาณานิคมตามมา อังกฤษมาก่อนจึงเอาแถวใกล้ๆไปก่อนเช่นอินเดีย
ดัช ต้องมาเอาไกลถึงอินโดนิเซียโน่น
ไม่ใช่"โกดัช" คำเดียว ท่านผู้ดียังผลิตศัพ
ที่เฉือนๆชาวดัชให้เลือดซิบๆไว้อีกหลายคำ้
เช่นคำว่า
Dutch courage,เมาแล้วซ่า, พวกคอแป๊บคอทองแดง
Dutch uncle, คนขวานผ่าซาก,คนตรง, การดูแลสั่งสอนเด็กแบบเข้มงวด ระเบียบเป๊ะๆ(อาจจะเลยเถิดไปถึงวิธีโหดๆเช่นใช้ไม้เรียว)..เจ๊บางคนก็เป็น
และ Dutch wife, ซึ่งมีความหมายหลายอย่าง คือหมอนข้าง, ผู้หญิงโสเภณี, หม้อทองแดงใส่น้ำอุ่นหุ้มผ้าหนาๆเอาไปนอนด้วยในเวลาฤดูหนาว(บ้้านเรายุคหลัง เป็นกระติกยาง)
http://en.wikipedia.org/wiki/Going_Dutch
ในภาษาอังกฤษยังมีโรค ที่เราก็เรียกตามอังกฤษว่า"หัดเยอรมัน"..ผู้หญิงเป็นแล้ว อาจจะถึงแท้งลูกได้ เพราะอังกฤษก็ไม่ชอบเยอรมันเหมือนกัน
คำที่เกี่ยวกับไทยก็มีคือ "ไซมีส ทอล์ค" ซึ่งแปลว่่า..สับปรับ..พูดโกหก พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย..สัญญาแล้วก็ฉีกสัญญาทิ้ง..
ไม่รู้ว่า..อันนี้คนอังกฤษไม่ชอบคนไทยตรงไหน..
เห็นตอนนี้ คงเปลี่ยนแนวคิดเรื่องคนไทย..จึงอ้าแขนรับทั้งตระกูลอย่างที่เห็น..ฮ่าๆๆๆๆๆๆๆ
ออกมาตีความว่า..คนไทยชอบเลียนแบบฝรั่ง..หรือชาติอื่นๆ
ผมเห็นหลายอย่าง ที่คนไทยเอาของเขามาแล้วก็แปลงรูปแปลงร่างเสียใหม่ จนฝรั่งหรือเจ้าของเก่า(เรื่องอาหาร)เขาจำไม่ไ่ด้
เช่นสุกี้ยากี้ แกงกะหรี่ หมูสะเต๊ะ
ส่วนในด้านภาษาก็คือ "น้องๆ เช็คบิลหน่อย" แทนที่จะบอกว่า.."เก็บตังค์ด้วยครับ.."
ใช้ทั้ง "เช็ค" และ "บิล" ..ฝรั่งก็งง น่ะสิครับ
เข้าเรื่องดีกว่า
คำว่า"โก ดัช" ที่กลายร่างเป็น "อเมริกันแชร์" ในภาษาไทย น่าจะเกิดมาก่อนสัตหีบมีฐานทัพ บี 52 ประมาณ 10 ปี
เพราะยุคนั้น..อเมริกันเริ่มทะลักเข้ามาเต็มจวนผู้ว่า จังหวัด จันทบุรีแล้ว
------------------------------------------------------------
Going Dutch ผมลอกขี้ปากของเฮีย แอนดรูว์ บิกกส์ มาดีกว่า..
Go Dutch เป็นศัพท์อังกฤษที่ตรงความหมายของ อเมริกันแชร์ ซึ่งเป็นศัพท์ไทย
โอ้อย่าคิดว่าผมพิมพ์ผิดเมื่อกี๊ครับ ผมพิมพ์ถูกแล้ว
คือ อเมริกันแชร์ เป็นศัพท์ที่คนไทยใช้โดยเฉพาะ
ฝรั่งเราไม่ใช้ แล้วคุณได้ศัพท์นี้มาจากไหนเนี่ย
http://www.andrewbiggs.com/columns/column-192.htm
เฮียแอนดรู บิกกส์ยังมีตัวอย่างวิธีใช้ศัพท์นี้ให้ด้วย
Bakkhoi is so stingy . The bill came to only 25 Baht but he said : " Let's go Dutch ." ( บักข่อย นี่ขี้เหนียวเหลือเกิน ค่าอาหารเพียง 15 บาทแต่เขาเสนอว่า จ่ายคนละครึ่ง )
แต่เฮียอังดรูว์ ตกคำนวณ..หรือตก อ่านเอาเรื่อง..แล้วแต่เพื่อนจะพิจารณา ฮ่าๆๆๆๆ
---------------------------------------------------------------------------------------
ที่มา
ว่ากัันว่า..ศัพท์นี้บัญญัติขึ้นมาโดยชาวอังกฤษสมัยสงคราม Anglo-Dutch Wars ในศตวรรตที่ 17 และ 18 เพราะต้องการ เหยียบย่ำ คู่ต่อสู้
หลังสงครามอาวุธ ยังมีสงครามการล่าอาณานิคมตามมา อังกฤษมาก่อนจึงเอาแถวใกล้ๆไปก่อนเช่นอินเดีย
ดัช ต้องมาเอาไกลถึงอินโดนิเซียโน่น
ไม่ใช่"โกดัช" คำเดียว ท่านผู้ดียังผลิตศัพ
ที่เฉือนๆชาวดัชให้เลือดซิบๆไว้อีกหลายคำ้
เช่นคำว่า
Dutch courage,เมาแล้วซ่า, พวกคอแป๊บคอทองแดง
Dutch uncle, คนขวานผ่าซาก,คนตรง, การดูแลสั่งสอนเด็กแบบเข้มงวด ระเบียบเป๊ะๆ(อาจจะเลยเถิดไปถึงวิธีโหดๆเช่นใช้ไม้เรียว)..เจ๊บางคนก็เป็น
และ Dutch wife, ซึ่งมีความหมายหลายอย่าง คือหมอนข้าง, ผู้หญิงโสเภณี, หม้อทองแดงใส่น้ำอุ่นหุ้มผ้าหนาๆเอาไปนอนด้วยในเวลาฤดูหนาว(บ้้านเรายุคหลัง เป็นกระติกยาง)
http://en.wikipedia.org/wiki/Going_Dutch
ในภาษาอังกฤษยังมีโรค ที่เราก็เรียกตามอังกฤษว่า"หัดเยอรมัน"..ผู้หญิงเป็นแล้ว อาจจะถึงแท้งลูกได้ เพราะอังกฤษก็ไม่ชอบเยอรมันเหมือนกัน
คำที่เกี่ยวกับไทยก็มีคือ "ไซมีส ทอล์ค" ซึ่งแปลว่่า..สับปรับ..พูดโกหก พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย..สัญญาแล้วก็ฉีกสัญญาทิ้ง..
ไม่รู้ว่า..อันนี้คนอังกฤษไม่ชอบคนไทยตรงไหน..
เห็นตอนนี้ คงเปลี่ยนแนวคิดเรื่องคนไทย..จึงอ้าแขนรับทั้งตระกูลอย่างที่เห็น..ฮ่าๆๆๆๆๆๆๆ
Stardust · 7 ปีที่ผ่านมา
2
0
การให้คะแนนของผู้ถาม
-
American Share กับ Go Dutch มีความหมายแตกต่างกันค่ะ
American Share คือ ค่าอาหารทั้งหมด หารด้วยจำนวนคน แล้วจ่ายคนละเท่าๆ กัน
ส่วน Go Dutch นั้นหมายความว่า ใครสั่งสิ่งไหนมาก็จ่ายเฉพาะสิ่งที่ตัวเองสั่ง คือต่างคนต่างจ่ายไม่ได้นำไปหารกันค่ะ
ส่วนที่มาของ Go Dutch ก็คงจะเป็นพฤติกรรมของชาว Dutch ที่พวกเขาปฏิบัติ ชาวอังกฤษจึงนำมาเป็นสำนวนค่ะ