การใช้ Present Continuous Tense
Present Continuous Tense มีวิธีใช้ดังต่อไปนี้
(1) ใช้กับเหตุการณ์ที่กําลังกระทําอยู่ในขณะที่พูด เช่น :-
He is working in his garden.
เขากําลังทํางานอยู่ในสวน (มองไปก็เห็นทําอยู่จริงๆ ยังไม่หยุดทํา)
(1) ใช้กับเหตุการณ์ที่กําลังกระทําอยู่ในขณะที่พูด เช่น :-
He is working in his garden.
เขากําลังทํางานอยู่ในสวน (มองไปก็เห็นทําอยู่จริงๆ ยังไม่หยุดทํา)
The dogs is running towards here.
สุนัขกําลังวิ่งตรงมายังที่นี่ (มองไปก็เห็นสุนัขกําลังวิ่งมาจริงๆ)
หมายเหตุ ตามกฎการใช้ข้อที่ 1 นี้ Present Continuous Tense จะนําเอา now เข้า
มาใช้ร่วมด้วยก็ได้ และเมื่อนํามาใช้ร่วมแล้ว มีวิธีเรียงอยู่ 3 อย่าง คือ
ก. เรียง now ไว้ต้นประโยค เมื่อต้องการเน้นเวลา เช่น
Now we are learning English.
เดี๋ยวนี้เรากําลังเรียนภาษาอังกฤษ
ข. เรียงเพื่อเล่นสํานวนการพูดให้วาง now ไว้หลัง Verb to be เช่น
I am now reading a book.
เดี๋ยวนี้ฉันกําลังอ่านหนังสืออยู่
ค. เรียงตามปกติการใช้แบบธรรมดา ให้วาง now ไว้สุดประโยค เช่น :-
Wilai is cooking in the kitchen now.
วิไลกําลังทํากับข้าวอยู่ในโรงครัวเดี๋ยวนี้
(2) ใช้กับเหตุการณ์ที่กําลังกระทําอยู่ในระยะเวลาอันยาวนานของช่วง วัน,เดือน,ปี ซึ่งตาม
ข้อเท็จจริงในขณะที่พูดประโยคนี้ออกมาแล้ว การกระทําอันนั้นอาจจะยังไม่กําลัง
ดําเนินการเคลื่อนไหวอยู่จริงๆ ก็ได้ แต่หากว่าเมื่อพูดถึงช่วงระยะเวลาอันยาวนานแล้ว
ก็กําลังกระทําสิ่งนั้นอยู่จริงๆ เช่น :-
สุนัขกําลังวิ่งตรงมายังที่นี่ (มองไปก็เห็นสุนัขกําลังวิ่งมาจริงๆ)
หมายเหตุ ตามกฎการใช้ข้อที่ 1 นี้ Present Continuous Tense จะนําเอา now เข้า
มาใช้ร่วมด้วยก็ได้ และเมื่อนํามาใช้ร่วมแล้ว มีวิธีเรียงอยู่ 3 อย่าง คือ
ก. เรียง now ไว้ต้นประโยค เมื่อต้องการเน้นเวลา เช่น
Now we are learning English.
เดี๋ยวนี้เรากําลังเรียนภาษาอังกฤษ
ข. เรียงเพื่อเล่นสํานวนการพูดให้วาง now ไว้หลัง Verb to be เช่น
I am now reading a book.
เดี๋ยวนี้ฉันกําลังอ่านหนังสืออยู่
ค. เรียงตามปกติการใช้แบบธรรมดา ให้วาง now ไว้สุดประโยค เช่น :-
Wilai is cooking in the kitchen now.
วิไลกําลังทํากับข้าวอยู่ในโรงครัวเดี๋ยวนี้
(2) ใช้กับเหตุการณ์ที่กําลังกระทําอยู่ในระยะเวลาอันยาวนานของช่วง วัน,เดือน,ปี ซึ่งตาม
ข้อเท็จจริงในขณะที่พูดประโยคนี้ออกมาแล้ว การกระทําอันนั้นอาจจะยังไม่กําลัง
ดําเนินการเคลื่อนไหวอยู่จริงๆ ก็ได้ แต่หากว่าเมื่อพูดถึงช่วงระยะเวลาอันยาวนานแล้ว
ก็กําลังกระทําสิ่งนั้นอยู่จริงๆ เช่น :-
He is studying hard in this term.
เขากําลังเรียนหนังสืออย่างขะมักเขม้นเทอมนี้
I am working at the Siam Motors Co., Ltd. This year.
ผมกําลังทํางานอยู่ที่บริษัทสยามกลการปีนี้ เป็นต้น
(3) ใช้กับเหตุการณ์ที่ผู้พูดมั่นใจว่า จะต้องเกิดขึ้นแน่นอนในอนาคตอันใกล้ ตามที่ได้
ตั้งใจเอาไว้ เช่น :-
We are leaving for Paris tomorrow.
พวกเราจะออกเดินทางไปนครปารีสวันพรุ่งนี้
Mr. Tomson is coming here soon.
มร. ทอมสันจะมาที่นี่เร็วๆ นี้ เป็นต้น
เขากําลังเรียนหนังสืออย่างขะมักเขม้นเทอมนี้
I am working at the Siam Motors Co., Ltd. This year.
ผมกําลังทํางานอยู่ที่บริษัทสยามกลการปีนี้ เป็นต้น
(3) ใช้กับเหตุการณ์ที่ผู้พูดมั่นใจว่า จะต้องเกิดขึ้นแน่นอนในอนาคตอันใกล้ ตามที่ได้
ตั้งใจเอาไว้ เช่น :-
We are leaving for Paris tomorrow.
พวกเราจะออกเดินทางไปนครปารีสวันพรุ่งนี้
Mr. Tomson is coming here soon.
มร. ทอมสันจะมาที่นี่เร็วๆ นี้ เป็นต้น
กริยาที่นําแต่งเป็น Continuous Tense ไม่ได้
ถาม : กริยาทุกตัวนํามาแต่งเป็น Present Continuous Tense ได้หมดใช่หรือไม่?
หรือมีข้อยกเว้นอย่างไร จงอธิบายให้เข้าใจ?
ตอบ : โดยปกติทั่วไปแล้ว กริยา (Verb) ทุกตัวนํามาแต่งเป็น Present Continuous Tense
ได้ทั้งนั้น แต่มีกริยาอยู่บางจําพวกที่ไม่นิยมนํามาแต่งเป็น Present Continuous
Tense ทั้งนี้ก็เพราะคนอังกฤษและอเมริกาเขาเห็นว่า กริยาเหล่านี้ทํานานไม่ได้
หรือมีข้อยกเว้นอย่างไร จงอธิบายให้เข้าใจ?
ตอบ : โดยปกติทั่วไปแล้ว กริยา (Verb) ทุกตัวนํามาแต่งเป็น Present Continuous Tense
ได้ทั้งนั้น แต่มีกริยาอยู่บางจําพวกที่ไม่นิยมนํามาแต่งเป็น Present Continuous
Tense ทั้งนี้ก็เพราะคนอังกฤษและอเมริกาเขาเห็นว่า กริยาเหล่านี้ทํานานไม่ได้
ได้แก่กริยาต่อไปนี้ คือ:-
(1)กริยาที่แสดงการรับรู้ (Verb of Perception) ได้แก่ :-
See (เห็น, เข้าใจ) feel (รู้สึก) Smell (ดม) hear (ได้ยิน) Taste (เข้าใจ)
(2)กริยาที่แสดงภาวะของจิตใจ (State of Mind) แสดงความรู้สึก (Feeling) หรือ
แสดงความสัมพันธ์ (Relationship) ได้แก่ :-
know (รู้จัก) hate (เกลียด) love (รัก) understand (เข้าใจ) believe (เชื่อ) seem (ดูเหมือน)
belong (เป็นของ) appear (ปรากฏว่า) remember (จําได้) like (ชอบ) want (ต้องการ)
forgive (ให้อภัย) เป็นต้น
I see something here.
ฉันเห็นอะไรบางอย่างอยู่ที่นี่
(อย่าใช้ : I am seeing something here.)
(1)กริยาที่แสดงการรับรู้ (Verb of Perception) ได้แก่ :-
See (เห็น, เข้าใจ) feel (รู้สึก) Smell (ดม) hear (ได้ยิน) Taste (เข้าใจ)
(2)กริยาที่แสดงภาวะของจิตใจ (State of Mind) แสดงความรู้สึก (Feeling) หรือ
แสดงความสัมพันธ์ (Relationship) ได้แก่ :-
know (รู้จัก) hate (เกลียด) love (รัก) understand (เข้าใจ) believe (เชื่อ) seem (ดูเหมือน)
belong (เป็นของ) appear (ปรากฏว่า) remember (จําได้) like (ชอบ) want (ต้องการ)
forgive (ให้อภัย) เป็นต้น
I see something here.
ฉันเห็นอะไรบางอย่างอยู่ที่นี่
(อย่าใช้ : I am seeing something here.)
She loves me very much.
หล่อนรักผมมาก
(อย่าใช้ : She is loving me very much.)
เมื่อแต่งด้วย Present Continuous Tense ไม่ได้ให้นําไปแต่งด้วย Present
Simple Tense ตามกฎข้อที่ 7 ดังที่อธิบายไว้แล้ว
อย่างไรก็ตาม กริยาที่แสดงการรับรู้ แสดงภาวะของจิตใจ หรือแสดงการสัมพันธ์
เหล่านี้ก็อาจจะนําไปแต่งด้วย Present Continuous Tense ได้ ถ้ากริยาเหล่านี้มีความหมาย
เป็นอย่างอื่น นอกจากความหมายเดิม เช่นคําว่า “see” ถ้าแปลว่า “ไปพบ, ไปส่ง” (ตาม
ความหมายเดิมแปลว่า เห็น) ก็นํามาแต่งเป็น Present Continuous Tense ได้ เช่น :-
Kukrit is seeing Turng Siew Ping tomorrow.
คึกฤทธิ์จะพบกับเติ้ง เสี่ยว ผิง วันพรุ่งนี้ (seeing = meeting)
I am seeing my friend off at Don Muang Airport.
ฉันจะไปส่งเพื่อนของฉันที่ท่าอากาศยานดอนเมือง (seeing = saying goodbye)
Feel ถ้าแปลว่า “คลําหา” (ตามความหมายเดิมแปลว่า รู้สึก) ก็นํามาแต่งเป็น
Present Continuous Tense ได้ เช่น :-
The blind man is feeling his way along the street.
ชายตาบอดคนนั้นกําลังคลําหาทางของเขาไปตามถนน (feeling = groping)
หล่อนรักผมมาก
(อย่าใช้ : She is loving me very much.)
เมื่อแต่งด้วย Present Continuous Tense ไม่ได้ให้นําไปแต่งด้วย Present
Simple Tense ตามกฎข้อที่ 7 ดังที่อธิบายไว้แล้ว
อย่างไรก็ตาม กริยาที่แสดงการรับรู้ แสดงภาวะของจิตใจ หรือแสดงการสัมพันธ์
เหล่านี้ก็อาจจะนําไปแต่งด้วย Present Continuous Tense ได้ ถ้ากริยาเหล่านี้มีความหมาย
เป็นอย่างอื่น นอกจากความหมายเดิม เช่นคําว่า “see” ถ้าแปลว่า “ไปพบ, ไปส่ง” (ตาม
ความหมายเดิมแปลว่า เห็น) ก็นํามาแต่งเป็น Present Continuous Tense ได้ เช่น :-
Kukrit is seeing Turng Siew Ping tomorrow.
คึกฤทธิ์จะพบกับเติ้ง เสี่ยว ผิง วันพรุ่งนี้ (seeing = meeting)
I am seeing my friend off at Don Muang Airport.
ฉันจะไปส่งเพื่อนของฉันที่ท่าอากาศยานดอนเมือง (seeing = saying goodbye)
Feel ถ้าแปลว่า “คลําหา” (ตามความหมายเดิมแปลว่า รู้สึก) ก็นํามาแต่งเป็น
Present Continuous Tense ได้ เช่น :-
The blind man is feeling his way along the street.
ชายตาบอดคนนั้นกําลังคลําหาทางของเขาไปตามถนน (feeling = groping)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น